หลักการทั่วไปทางพิษวิทยา การจัดกลุ่มสารพิษครอบคลุม ยา เครื่องสาอาง วัตถุเจือปนและสารปนเปื้อนในอาหาร สารปูองกันกาจัดศัตรูพืชและสัตว์ พิษจากสารธรรมชาติ โลหะหนัก สารพิษจากอุตสาหกรรมและมลพิษในสิ่งแวดล้อม โดยเน้นที่ความเป็นพิษต่อระบบต่าง ๆ ของร่างกาย การแก้ไขอาการพิษ การป้องกันอันตราย การจัดการความเสี่ยง และนิติพิษวิทยา

General principles of toxicology; classification of toxic substances covering drugs, cosmetics, food additives and contaminants, pesticides, natural poisons, heavy metals, industrial toxicants and environmental pollutants emphasizing on toxicity to various organs in the body; treatment of toxic symptoms, hazard prevention, risk assessment, and forensic toxicology.

หลักการทั่วไปทางเภสัชวิทยา การจัดประเภทของยาตามฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา กลวิธานการออกฤทธิ์ ข้อบ่งใช้ ขนาดและวิธีการใช้ยา อาการไม่พึงประสงค์ ข้อควรระวัง ข้อห้ามใช้ ปฏิกิริยาระหว่างยา ครอบคลุมยาประเภทที่ออกฤทธิ์ต่อระบบประสาทอัตโนมัติ ระบบประสาทส่วนกลาง ระบบหัวใจหลอดเลือดและไต

General principles of pharmacology, classification of drugs according to their pharmacological effects, mechanisms of actions, indications; dosage and administration; adverse effects, precautions, contraindications, drug interactions; topics include drugs acting on autonomic nervous system, central nervous system, cardiovascular and renal systems.

การจัดประเภทของยาตามฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา กลวิธานการออกฤทธิ์ ข้อบ่งใช้ ขนาดและวิธีการใช้ยา ผลไม่พึงประสงค์ ข้อควรระวัง ข้อห้ามใช้ ปฏิกิริยาระหว่างยา หัวข้อครอบคลุมยาประเภทที่ออกฤทธิ์ต่อระบบต่อมไร้ท่อ ระบบภูมิคุ้มกัน ระบบทางเดินอาหาร ระบบทางเดินหายใจ  ยาต้านจุลชีพ ยาต้านมะเร็งและยากลุ่มอื่นๆ 

Classification of drugs according to their pharmacological effects, mechanisms of actions, indications, dosage and administration, adverse effects, precautions, contraindications, drug interactions; topics include drugs acting on endocrine system, immunological system, gastrointestinal system, respiratory system, antimicrobial drugs, anticancer drugs, and other unclassified drugs.

พยาธิสรีรวิทยา สาเหตุของการเกิดโรค และการใช้ยาเพื่อรักษาโรคและความผิดปกติของระบบต่างๆ ของร่างกาย รวมถึงโรคติดเชื้อ โดยเน้นการบูรณาการความรู้ในการวางแผนติดตามการใช้ยาอย่างเหมาะสม  รวมทั้งการพัฒนาทักษะของการแก้ปัญหาที่เกี่ยวข้องกับการใช้ยาโดยใช้กรณีศึกษา

Pathophysiology, etiology, drug therapy in disorders of ears, eyes, nose and throat; dermatologic, gynecologic, gastrointestinal, neurologic, bone and joint disorders; anemia; sexually transmitted diseases; helminthes and urinary tract infections; emphasizing integrated knowledge for appropriate monitoring plan and skill development in solving drug-related problems by case scenarios.

ปฏิบัติการเกี่ยวกับเภสัชจลนพลศาสตร์และการออกฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา ครอบคลุมยาประเภทที่ออกฤทธิ์ต่อระบบประสาทอัตโนมัติ ระบบประสาทส่วนกลางระบบหัวใจหลอดเลือดและไต

Laboratory practice in pharmacokinetics and pharmacological actions, covering drugs acting on autonomic nervous system, central nervous system, and cardiovascular and renal systems.

คุณสมบัติของยาใหม่ โดยเปรียบเทียบกับคุณสมบัติของยาที่มีใช้ในปัจจุบันทางด้านเภสัชจลนพลศาสตร์ กลวิธานการออกฤทธิ์ ข้อบ่งใช้ ขนาดและวิธีใช้ยา อาการไม่พึงประสงค์ ข้อควรระวัง ข้อห้ามใช้ ปฏิกิริยาระหว่างยา

Characteristics of new drugs by comparing with those of current drugs in pharmacokinetics, mechanisms of actions, indications, dosage and administration, adverse effects, precautions, contraindication, drug interactions.